ชื่อการค้า | STRONG potassium chloride® | |||
รูปแบบยา | Ampule: 1.5g / 10 ml (20 mEq / 10 ml) | |||
Class | Mineral | |||
ข้อบ่งใช้ | Hypokalemia | |||
ผู้ป่วยตั้งครรภ์ | Preg. Category : C | |||
ข้อห้ามใช้ | Hypersensitivity to Potassium chloride
Pregnancy & Lactation Untreated Addison’s disease, Heat cramps Hyperkalemia, Acute dehydration, Adenamia episodica hereditoria, Renal failure |
|||
อาการข้างเคียง | ท้องเสีย, N/V, ปวดท้อง ท้องอืด
Tachycardia Hyperkalemia (Muscle weak, Paralysis) ปวดบริเวณที่ฉีด, Tissue necrosis จาก Extravasation |
|||
การผสมยา | IV infusion : ต้องเจือจางยาด้วย NSS, D5N/2, D5W ก่อนบริหารโดย
ผสมสารละลายความเข้มข้นไม่เกิน 80 mEq/L (Peripheral line), 150 mEq/L (Central line) กรณีผู้ป่วยที่ต้องจำกัดน้ำ ผสมสารละลายความเข้มข้นไม่เกิน 200 mEq/L (Central line) ***ห้ามผสมยาในน้ำเกลือที่แขวนอยู่ ควรพลิกถุงน้ำเกลืออย่างน้อย 10 ครั้งจนเข้ากันดีก่อนให้ยา เพื่อป้องกันการเกิดความเข้มข้นของยาเฉพาะจุด
***ไม่ควรเจือจางยาในสารละลายที่มี Mannitol เพราะทำให้เกิดตะกอน ห้ามผสมกับยาต่อไปนี้ Amikacin sulfate, Amoxicillin sodium, Amphotericin B, Dobutamine,Penicillin G sodium, Azithromycin, Diazepam, Ergotamine tartate, Mannitol, Methylprednisolone, Midazolam, Phenytoin sodium |
|||
ขนาด/การบริหาร | ***กรณีบริหารยา IV ให้เจือจางสาละลายจนเรียบร้อยก่อนให้ยา และใช้ Infusion pump ทุกครั้ง
***ห้ามบริหารยาแบบ IV push ผู้ใหญ่ Potassium Dosage/Rate of infusion Guidelines |
|||
ระดับ Potassiumในเลือด
(mEq/L) |
Infusion rate สูงสุด
(mEq/hr) |
ความเข้มข้น
(mEq/L) |
ขนาดยาสูงสุดต่อวัน
(mEq) |
|
> 2.5 | 10 | 40 | 200 | |
< 2.5 | 40 | 80 | 400 | |
Serum potassium > 2.5 mEq/L
IV: 10 mEq ภายใน 1 ชม. ให้เพิ่มได้ถ้าต้องการ Serum potassium < 2.5 mEq/L IV: ขนาดเริ่มต้นให้ได้จนถึง 40 mEq ภายใน 1 ชม —-> พิจารณาให้ขนาดต่อไปตามผล Lab ถ้า Serum potassium 2 mEq/L อาจจำเป็นต้องให้ขนาดสูงถึง 400-800 mEq
เด็ก IV: 1 mEq/kg ภายใน 1-2 ชั่วโมง —-> พิจารณาให้ตามผล Lab หาก Serum potassium ต่ำมากหรือลดลงเรื่อยๆ —-> ให้ในขนาดสูงถึง 200 เท่าของขนาดปกติ Intermittent IV infusion: ไม่ควรเกิน 1 mEq/kg/hr หรือ 40 mEq/hr ถ้าให้เกิน 0.5 mEq/kg/hr ควรอยู่ในความดูแลของแพทย์และตรวจเช็คคลื่นหัวใจ (EKG monitor)
***ผู้ป่วยที่มีการทำงานของไตบกพร่อง ควรใช้ขนาดยา —-> 50% ของขนาดปกติ |
||||
การติดตาม | EKG
BP, HR Urine output Electrolyte : K (ตามแพทย์สั่ง) IV site Extravasation ทุกครั้งที่วัด V/S |
|||
การเก็บรักษา | ***ห้ามใช้ยากรณียาเปลี่ยนสีหรือตกตะกอน
เก็บที่อุณหภูมิไม่เกิน 25oc เมื่อผสมกับสารละลาย จะคงตัวได้ 24 ชั่วโมงที่ 25oc |
|||
การแก้ไข
อาการพิษ |
กรณี Serum potassium > 6.5 mEq/L —-> ให้ Sodium bicarbonate inj. 40 – 160 mEq นาน 5 นาที
—-> ถ้า EKG ผิดปกติสามารถให้ซ้ำได้ทุก 10 – 15 นาที กรณี EKG ไม่พบP-WAVE/Prolong QRS —-> ให้ Calcium gluconate 0.5 – 1g นาน 2 นาที —-> ให้ 50% glucose 40 – 50 ml + RI 10 – 20 U/L IV push ลดระดับ Potassium ในเลือดด้วย Kalimate ทางการรับประทาน หากพบรอยแดง บวม คล้ำตามเส้นเลือดบริเวณ IV site ให้เปลี่ยนตำแหน่งให้ยาใหม่ |
|||
รายงานแพทย์ | EKG พบ Peaked T-WAVE, Flattened P-WAVE , prolong QRS complex และ ventricular arrhythmias
BP > 160 / 90 mmHg หรือ < 90 / 60 Urine output < 1 ml/kg/hr Serum K > 5 mEq/ml หรือ < 3.5 mEq/ml |