Digoxin injection

      ไม่มีความเห็น บน Digoxin injection

digoxin

ชื่อการค้า Lanoxin®
รูปแบบยา Ampule: 0.5 mg / 2 ml
Class Antiarrhythmic agent, Inotrope & Pressor
ข้อบ่งใช้ Congestive heart failure

Atrial flutter / fibrillation

Cardiac shock

Selective paroxysmal tachycardia or AV junction rhythm

ผู้ป่วยตั้งครรภ์ Preg. Category : C
ข้อห้ามใช้ Hypersensitivity to Digoxin, Cardiac glycoside drug

Ventricular tachycardia / fibrillation

Idiopathic hypertrophic stenosis, Constrictive pericarditis, Amyloid disease

2nd & 3rd degree AV block*

ระวังในผู้ป่วยที่มีภาวะ Potassium ในเลือดต่ำ, ผู้ป่วยโรคไตรุนแรง, ผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตาย

(*ยกเว้นผู้ที่ใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจ)

อาการข้างเคียง มึนงง, Mental disturbances

ท้องเสีย, ปวดศีรษะ,

N/V, Maculopapular rash

การมองเห็นผิดปกติ (พร่ามัว หรือมองเห็นภาพเป็นสีเหลืองเขียว)

Heart block, Asystole, Tachycardia

การผสมยา ผสมยา ใน SWI, D5W, NSS ปริมาตรอย่างน้อย 4 เท่าของปริมาตรยา Digoxin ที่จะใช้

 

ห้ามผสมกับยาต่อไปนี้

Amphotericin B, Amiodarone, Dobutamine, Fluconazole, Insulin

ขนาด/การบริหาร ***บริหารยา IV เข้าหลอดเลือดดำอย่างช้าๆอย่างน้อย 5 นาที (นานกว่านั้นในกรณีไม่ได้เจือจาง)

***บริหารยา IM สามารถให้ยาปริมาตรไม่เกิน 2 ml เท่านั้น และให้นวดเบาๆหลังฉีด อย่างไรก็ตามการบริหารยาวิธีนี้อาจทำให้มีอาการปวด และเกิดการระคายเคืองบริเวณผิวหนังได้

 

ผู้ใหญ่

Loading dose : 0.25 – 0.5 mg IV/IM —-> อาจให้ยาซ้ำอีก 0.1 – 0.3 mg IV ทุก 6 – 8 hr

จนกว่าจะได้ผลทางคลินิกที่ต้องการ (ขนาดสูงสุด 0.008 – 0.015 mg/kg)

Maitainance : 0.1 – 0.4 mg IV วันละ 1 ครั้ง

 

 

เด็ก 

วิธีบริหารยาจะเหมือนกันตามขั้นตอนด้านล่าง (ยกเว้นเด็กอายุมากกว่า 10 ปี)

Loading dose :  ครั้งที่ 1 IV/IM —-> จากนั้น —-> ครั้งที่ 2 และ 3 IV/IM ทุก 8 – 12 hr

Maitainance : IV/IM แบ่งเป็น 2 ครั้งทุก 12 ชั่วโมง (ยกเว้นเด็กอายุมากกว่า 10 ปี และผู้ใหญ่ ที่จะให้วันละ 1 ครั้ง)

Age Loading dose (mcg/kg)

ครั้งที่ 1

Loading dose (mcg/kg)

ครั้งที่ 2, 3

Maintenance (mcg/kg)
Preterm infant 7.5 – 12.5 4 – 6 4 – 6
Full-term infant 10 – 15 5 – 8 5 – 8
1 month – 2 year 15 – 25 7.5 – 12 7.5 – 12
2 – 5 years 13 – 17 6 – 9 6 – 9
5 – 10 years 7.5 – 15 4 – 8 4 – 8
> 10 years 4 – 6 2 – 3 2 – 3 (วัน 1 ครั้ง)
***ผู้ป่วยที่มีการทำงานของไตบกพร่อง ควรใช้ —-> 25%-75% ของขนาดปกติ (Clcr10–50 ml/min)

                                                                             —-> 10%-25% ของขนาดปกติ (Clcr< 10 ml/min)

                                                                             —-> 50% ของขนาดปกติ  ในกรณี ESRD

การติดตาม BP, HR

Digitalis Intoxication

Electrolyte : K, BUN/Cr (ตามแพทย์สั่ง)

EKG (ตามแพทย์สั่ง)

การเก็บรักษา ***ห้ามใช้ยากรณียามีตะกอน

เก็บไว้ที่อุณหภูมิห้อง เก็บให้พ้นแสง

การแก้ไข

อาการพิษ

หยุดยา และรักษาตามอาการทีเกิดขึ้น
รายงานแพทย์ ผู้ป่วยคลื่นไส้ อาเจียนมาก มองเห็นภาพเป็นสีเหลืองเขียว

BP > 160/90 mmHg หรือ < 90/60 mmHg

HR < 60 /min

EKG : พบ AF with slow ventricular response, Heart block

BUN/Cr > 2

Serum K > 5 mEq/ml หรือ < 3.5 mEq/ml

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องที่ต้องการถูกทำเครื่องหมาย *